FTPI’s IDE Hub
Service
การให้บริการของสถาบัน เพื่อยกระดับธุรกิจฐานนวัตกรรม
Network
IDEs
account_balance
IBDS
MOU
สถาบันการศึกษา
หน่วยงานภาครัฐ
องค์กรเอกชน และต่างประเทศ
account_balance
Partner
 
previous arrow
next arrow
FTPI’s IDE Hub
KM
Service
Network
previous arrow
next arrow

Home > Services

Slide
การให้บริการของสถาบัน เพื่อยกระดับธุรกิจฐานนวัตกรรม
Processes
Business Diagnosis

วินิจฉัยธุรกิจเบื้องต้นเพื่อออกแบบกระบวนการ เพื่อยกระดับธุรกิจไปสู่การธุรกิจฐานนวัตกรรม

Strategic Business Plan

จัดทำแผนกลยุทธ์ร่วมกับผู้บริหารกิจการเพื่อวิเคราะห์หาโอกาสการสร้างนวัตกรรมทางธุรกิจใหม่

Implement Plan

กำหนดแผนการดำเนินงานโดยมีกรอบการชี้วัดความสำเร็จ (OKR) ติดตามความคืบหน้า สถานะ ผู้รับผิดชอบ เพื่อประสานการให้บริการ ปรึกษาแนะนำ ให้ผู้ประกอบการสามารถปรับธุรกิจไปสู่องค์กรนวัตกรรม

Consulting

ประสาน เชื่อมโยง ให้เข้าถึงแหล่งทรัพยากรและผู้เชี่ยวชาญ ตามกรอบการดำเนินงาน

Coaching & follow up

ประสานและติดตามประเมินผลการดำเนินงานตามแผนงาน
และให้คำแนะนำเมื่อเกิดปัญหา

Tools
  1. TQA Assessment
  2. วิจัยเทรนด์เพื่อกำหนดกลยุมทธ์*
    (I.4.0 Trend’s Research for Strategy)
  3. Smart – EX
  1. Lean, Kaizen, 5 ส
  2. WE (Workforce Engagement)
  3. Digital Transformation
  4. ESG , Green Productivity
  5. GRI Certify Training Program
  6. ISO; 9001, 14001, 27001, 13485, 22000
    45001, 22716, 27701,HACCP, GHP
Slide
เครื่องมือของสถาบัน เพื่อให้บริการสำหรับ IDE ในการจัดทำ แผนกลยุทธ์ และ Implementation
Strategic Business Plan
Quick Assessment toward Business Excellence 

เป็นการประเมินการบริหารจัดการขององค์กรตามแนวทางเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ ผลการประเมินจะช่วยให้องค์กรทราบถึงระดับผลิตภาพของการบริหารจัดการทั้ง 7 หมวด ซึ่งผลจากการประเมินดังกล่าวสามารถนำมาปรับใช้ในการกำหนดแผนการปรับรุงองค์กรได้อย่างมีทิศทาง  เพื่อยกระดับความสามารถในการบริหารจัดการองค์กรและพัฒนาแนวทางปฏิบัติเพื่อมุ่งสู่ความเป็นเลิศ

การศึกษาวิจัยเพื่อการวางแผนกลยุทธ์

ในการวางแผนกลยุทธ์ของทั้งหน่วยงานภาครัฐและเอกชนที่มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลอย่างแท้จริง จำเป็นอย่างยิ่งที่ต้องตอบสนองและสนับสนุนความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (Demand Driven) ดังนั้นองค์กรจึงควรเข้าใจถึงสภาพปัญหาและสถานะปัจจุบันในส่วนที่มีความเกี่ยวข้องกับภารกิจของตนเอง เพื่อใช้เป็นข้อมูลสำคัญให้กับในการกำหนดนโยบายและแผนกลยุทธ์ที่ชัดเจน นำไปสู่แผนปฏิบัติการ (action plan) ที่เหมาะสม
ตัวอย่างลักษณะงาน
1. การวิเคราะห์เหตุการณ์จำลองในอนาคต: Foresight Management & Scenario Planning
2. การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ แผนแม่บท แผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการด้านต่างๆ

SMART-Ex Program (Simplified Maturity Assessment Report toward Excellence)

คือ โปรแกรมการประเมินองค์กรตามแนวทางเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ
สำหรับองค์กรที่ต้องการเริ่มต้นนำเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติมาใช้ในองค์กรที่ต้องการพัฒนาการบริหารจัดการองค์กรโดยการตอบคำถามตามเกณฑ์ และมีผู้เชี่ยวชาญด้านการตรวจประเมินองค์กรที่ผ่านการรับรอง (Organization Assessment Certified Expert) มาช่วยตรวจประเมิน และให้ Feedback report เพื่อให้องค์กรนำไปพัฒนาปรับปรุงองค์กร สู่ความเป็นเลิศได้เร็วยิ่งขึ้น

จุดเด่นของ SMART-Ex Program อยู่ที่ โปรแกรมช่วยให้องค์กรสามารถตรวจประเมินองค์กร ได้ตลอดทั้งปี โดยไม่มีข้อจำกัดด้านเวลา จำนวนครั้ง มีกระบวนการยังสั้น และใช้ทรัพยากรขององค์กรไม่มาก ซึ่งนอกจากจะได้รับการตรวจประเมินองค์กร ในระดับเริ่มต้นแล้ว องค์กรยังได้รับคำแนะนำในการปรับปรุงตามแนวทางเกณฑ์ TQA (Interpretation and possible action)

Slide
Implement Plan
  1. Lean, Kaizen, 5 ส
  2. WE (Workforce Engagement)
  3. Digital Transformation
  4. ESG , Green Productivity
  5. GRI Certify Training Program
  6. ISO; 9001, 14001, 27001, 13485, 22000, 45001, 22716, 27701,HACCP, GHP
การบริหารการผลิต(Production Management)
  1. การวัดระดับผลิตภาพ (Productivity Measurement)
  2. การวางแผนและควบคุมการผลิต (Production Planning and Control)
  3. การควบคุมคุณภาพ (Quality Control System)
  4. การบริหารระบบการบำรุงรักษา(Maintenance Management System)
  5. การบริหารสินค้าคงคลัง (Inventory Management)
  6. การบริหารความปลอดภัย (Safety Management)
  7. การบริหารงานประจำวัน (Daily Management)
  8. การบริหารโครงการ(Project Management)
  9. การพัฒนาศักยภาพของหัวหน้างาน (Supervisor Development
การบริหารเพื่อการเพิ่มผลิตภาพ (Productivity Management)

  1. 5ส เพื่อการเพิ่มผลิตภาพ
  2. ไคเซ็นเพื่อการเพิ่มผลิตภาพ (Kaizen Suggestion System)
  3. การวิเคราะห์และแก้ปัญหาอย่างมีประสิทธิผล (Effective Problem Solving)
  4. กิจกรรมกลุ่มปรับปรุงคุณภาพ (Quality Control Circle:QCC)
  5. การบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม (Total Productive Maintenance:TPM)
  6. การบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์กร (Total Quality Management:TQM)
  7. การผลิตแบบลีน (Lean manufacturing)
  8. Six Sigma
  9. การจัดการนวัตกรรม(Innovation Management)
  10. Productivity integrated Industry 4.0
การจัดการด้านบุคลากร

บริการให้คำปรึกษาแนะนำเพื่อพัฒนาพนักงาน หัวหน้างาน และผู้บริหาร ในด้านทักษะการบริหารจัดการและการเพิ่มผลิตภาพ ตลอดจนการพัฒนาระบบการบริหารทรัพยากรบุคคลในด้านต่างๆ ตามความเหมาะสมกับสภาพปัญหาและความต้องการของแต่ละองค์กร อาทิ Competency Models, Job Analysis, Job Description, Job Evaluation, Job Instruction, Job Methods, Job Relations, Performance Management System, Leadership System, Change Management, Supervisor in Competitive Age, Team Building, Training Roadmaps, Training Evaluation และ Train the Trainer Programs, Employee Engagement Survey, Employee Opinion Survey

Slide
Implement Plan
  1. ISO 9001 (QMS) - บริหารงานคุณภาพ (Quality Management System)
  2. ISO 14001 (EMS) - การจัดการสิ่งแวดล้อม (Environmental Management System)
  3. ISO 22000 (Food Safety) - การจัดการความปลอดภัยของอาหาร
  4. HACCP - ระบบการวิเคราะห์อันตรายและจุดวิกฤตที่ต้องควบคุม (Hazard Analysis and Critical Control Points)
  5. GMP - หลักเกณฑ์วิธีการที่ดีในการผลิต (Good Manufacturing Practice)
  6. IATF 16949 - บริหารงานคุณภาพสำหรับอุตสาหกรรมยานยนต์
  7. ISO 30401:2018 - การจัดการความรู้ (Knowledge Management Systems)
  8. ISO 45001 (OH&SMS) - การจัดการอาชีวอนามัยและความปลอดภัย (Occupational Health and Safety Management System)
  9. ISO 31000:2018 - การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
  10. ISO 26000 (CSR) - ความรับผิดชอบต่อสังคม (Corporate Social Responsibility)
  11. ISO 22301 (BCM) - การบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Management)
  12. ISO/IEC 27000 (ISMS) - บริหารจัดการความมั่นคงปลอดภัยสารสนเทศ (Information Security Management System)

แนวคิดการทำธุรกิจที่ยั่งยืนซึ่งเป็นที่ยอมรับในปัจจุบัน กำหนดให้องค์กรต้องมีการดำเนินการด้าน ESG ซึ่งมีองค์ประกอบ 3 มิติ คือ มิติด้านสิ่งแวดล้อม มิติด้านสังคม และมิติด้านธรรมภิบาลขององค์กร ในแต่ละมิติจะมีตัวชี้วัดที่สะท้อนถึงผลการดำเนินการขององค์กร โดยองค์กรควรมีการรายงานผลต่อสาธารณะอย่างสม่ำเสมอ สำหรับ ESG criteria ที่สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ นำมาใช้ให้บริการปรึกษาแนะนำกับองค์กร เป็นการประยุกต์แนวทางของ Sustainable Corporation Index : SCI ตามแนวทางของ CERES และ Dow Jones Sustainability Indices : DJSI เพื่อให้ครอบคลุมและเหมาะสมกับการนำไปดำเนินการ