วันที่อบรม
11 - 12 ตุลาคม 2566
เวลา 9:00-16:00 น.
ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน) สำนักงานใหญ่ อาคารนานา
ระยะเวลาอบรม : 15 วัน
วิธีการฝึกอบรม
- บรรยาย
- อภิปราย
- ฝึกปฏิบัติ
ค่าธรรมเนียม (ไม่รวม VAT)
5,900 บาท
สมาชิกสถาบัน รหัส TP และ FI ลด 3%
สถาบันจดทะเบียนในนามมูลนิธิ จึงได้รับยกเว้นการหักภาษี ณ ที่จ่าย 3%
PROMOTION
สมัคร 2 ท่าน ชำระเพียง 10,000 บาท
- This event has passed.
เปิดรับสมัครรุ่น 2 วันที่ 18-19 มกราคม 2567 ดูรายละเอียด ที่นี่
เน้นให้ผู้เรียนได้เรียนรู้การต่ออุปกรณ์ไฟฟ้าการใช้งานเครื่องมือพื้นฐาน โดยเน้นให้ต่อกับอุปกรณ์จริงผ่านชุดฝึก PLC simulation training
วัตถุประสงค์ :
- พื้นฐานไฟฟ้ากระแสตรงและไฟฟ้ากระแสสลับ
- การใช้มิเตอร์วัดกระแสไฟ,แรงดันไฟฟ้า,ความต้านทาน
- การต่อใช้งานรีเลย์ (Relay)
- การต่อมอเตอร์ไฟกระแสตรงด้วยรีเลย์ ให้หมุนเดินหน้าและถอยหลัง
- การต่อ PLC กับอุปกรณ์ด้าน Input (แบบ Sink หรือ Source)
- การต่อ PLC กับอุปกรณ์ด้าน Output (แบบ Sink หรือ Source)
- การติดตั้งโปรแกรมและการใช้งานโปรแกรมสำหรับเขียนภาษา Ladder Diagram เพื่อสั่งงาน PLC
- มีการทดลองเขียนโปรแกรม จำนวน 20 การทดลอง
กลุ่มเป้าหมาย :
- ช่างเทคนิค
- ผู้จัดการ วิศวกร หัวหน้างาน ฝ่ายผลิต ฝ่ายวิศวกรรม
- ผู้ประกอบการที่สนใจนำระบบ Automation ไปใช้ในการทำงาน
ระยะเวลา : 2 วัน
รุ่น 1 วันที่ 11-12 ตุลาคม 2566
Learning Method:
วิทยากร :
คุณนิมิตร แก้วกิ่ง Master Trainer บริษัท ไทยแอดวานซ์เซ็นเตอร์ จำกัด
คุณภัทรนันท์ ขาวไชยมหา Trainer บริษัท ไทยแอดวานซ์เซ็นเตอร์ จำกัด
ค่าธรรมเนียม :
ท่านละ 5,900 บาท
Course Outline :
– การทดลองที่ 1 การทำ Output เป็นเหมือน Input (Output Same Input)
– การทดลองที่ 2 การกลับสถานะ Output (Invert Output)
– การทดลองที่ 3 การกด Switch แล้วหลอดไฟค้างตลอด (Self Holding)
– การทดลองที่ 4 การกด Switch เพื่อให้หลอดไฟติดค้างและให้หลอดไฟดับ ด้วยคำสั่ง Set/Reset
– การทดลองที่ 5 การล็อกไม่ให้ Output ทำงานพร้อมกัน แบบที่ 1 (Interlock Output)
– การทดลองที่ 6 การล็อกไม่ให้ Output ทำงานพร้อมกัน แบบที่ 2 (Interlock Input)
– การทดลองที่ 7 การรับค่า Input ของ PLC และทำให้เป็นสัญญาณ Pulse (Read Pulse Input)
– การทดลองที่ 8 การใช้งานรีเลย์ภายใน (Internal relay)
– การทดลองที่ 9 การใช้งานตัวตั้งเวลาใน PLC (Timer)
– การทดลองที่ 10 การสร้างไฟกระพริบ (LED Flicker)
– การทดลองที่ 11 การสร้างไฟวิ่ง (LAMP Rotation)
– การทดลองที่ 12 การใช้งานตัวนับใน PLC (Counter)
– การทดลองที่ 13 การใช้งาน Data Register
– การทดลองที่ 14 การควบคุม DC Motor ด้วย PLC และใช้งาน Emergency
– การทดลองที่ 15 การหยุดการทำงาน DC Motor ด้วย Photo Sensor
– การทดลองที่ 16 การหยุดการทำงาน DC Motor ด้วย Proximity Sensor
– การทดลองที่ 17 การควบคุม Stepping Motor ให้ควบคุมแบบ Speed control
– การทดลองที่ 18 การควบคุม Stepping Motor ให้เข้าตำแหน่ง Home
– การทดลองที่ 19 การควบคุม Stepping Motor ให้ควบคุมตำแหน่งแบบ Incremental
– การทดลองที่ 20 การควบคุม Stepping Motor ให้ควบคุมตำแหน่งแบบ Absolute
Oops! We could not locate your form.