วันที่อบรม
21 พฤศจิกายน 2566
เวลา 9:00-16:00 น.
โรงแรมโกลเด้นทิวลิป ซอฟเฟอริน
ระยะเวลาอบรม : 1 วัน
วิธีการฝึกอบรม
- บรรยาย
- อภิปราย
- ฝึกปฏิบัติ
ค่าธรรมเนียม (ไม่รวม VAT)
4,200 บาท
สมาชิกสถาบัน รหัส TP และ FI ลด 3%
สถาบันจดทะเบียนในนามมูลนิธิ จึงได้รับยกเว้นการหักภาษี ณ ที่จ่าย 3%
- This event has passed.
ในธุรกิจอุตสาหกรรมที่ใช้เครื่องจักรเป็นหลักในการผลิตมักไม่ได้สนใจหาวิธีการใช้และบำรุงรักษาอย่างถูกต้อง ผลที่ตามมาก็คือเครื่องจักรเสียบ่อย ต้องเสียเวลาซ่อมและเวลาการผลิต เครื่องจักรไม่มีสมรรถนะการทำงานที่ดี ผลิตชิ้นงานออกมาไม่ได้คุณภาพและมาตรฐาน ทำให้เกิดการแก้ไขงาน การส่งมอบไม่ทันเวลา และต้นทุนที่สูงขึ้น ลูกค้าขาดความเชื่อมั่น และส่งผลต่อความสามารถในการแข่งขันในระยะยาว เทคนิคที่สามารถช่วยทำให้เครื่องจักรเสียเป็นศูนย์ (Zero Breakdown) เป็นเทคนิคการบำรุงรักษาที่เป็นความร่วมมือระหว่างพนักงานหน่วยซ่อมบำรุง และพนักงานหน่วยผลิตซึ่งถูกพัฒนาขึ้นในประเทศญี่ปุ่น และเป็นที่นิยมใช้ในประเทศต่างๆ คือการบำรุงรักษาด้วยตนเอง ซึ่งสามารถทำให้ใช้เครื่องจักรได้อย่างมีประสิทธิผล ลดค่าใช้จ่ายในการซ่อมบำรุงรักษาและผลิตสินค้าได้คุณภาพและปริมาณตามความต้องการของลูกค้า และเกิดสัมพันธภาพที่ดีระหว่างฝ่ายผลิตและฝ่ายซ่อมบำรุงอีกด้วย
วัตถุประสงค์
- เพื่อให้เข้าใจพื้นฐานการบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม (TPM)
- เพื่อให้เข้าใจถึงความสำคัญของการบำรุงรักษาด้วยตนเองที่มีผลต่อประสิทธิภาพของการผลิต
- เพื่อให้ทราบขั้นตอนการบำรุงรักษาด้วยตนเองและสามารถนำไปปฏิบัติได้
Learning Method:
วิทยากร : อ.ชาญชัย พรศิริรุ่ง
วิทยากรและผู้เชี่ยวชาญด้านการเพิ่มผลผลิตและการจัดสรรผลที่ได้จากการเพิ่มผลผลิต ทั้งด้านคุณภาพ ต้นทุน และเทคนิคปฏิบัติที่ได้ผลจริง
เหมาะสำหรับ
- Supervisor
- Manager
ค่าธรรมเนียม
ท่านละ (ก่อน VAT 7%)
|
4,200 บาท
|
ท่านละ (รวม VAT 7%)
|
4,494 บาท
|
หมายเหตุ : สมาชิกลด 5%
|
ระยะเวลา: 1 วัน
รุ่น 1 วันที่ 20 มิถุนายน 2566
รุ่น 2 วันที่ 21 พฤศจิกายน 2566
หัวข้อ
- การบำรุงรักษาทวีผลแบบทุกคนมีส่วนร่วม (Total Productive Maintenance : TPM)
- การบำรุงรักษาด้วยตนเอง (Autonomous Maintenance : AM)
- การเตรียมการ
- 7 ขั้นตอนของการบำรุงรักษาด้วยตนเอง
- เครื่องมือสนับสนุนการบำรุงรักษาด้วยตนเอง
- การตรวจประเมินการบำรุงรักษาด้วยตนเอง
- Workshop “การจัดทำแผนดำเนินการบำรุงรักษาด้วยตนเองในองค์กร”