วิธีการฝึกอบรม
- บรรยาย
- อภิปราย
ค่าธรรมเนียม (ไม่รวม VAT)
4,200 บาท
สมาชิกสถาบันลด 5%
สถาบันจดทะเบียนในนามมูลนิธิ จึงได้รับยกเว้นการหักภาษี ณ ที่จ่าย 3%
บุคลากรเป็นทรัพยากรที่สำคัญในการสร้างผลการดำเนินงานให้บรรลุตามเป้าหมายขององค์กร ดังนั้นองค์กรจึงจำเป็นต้องทราบปัจจัยที่ส่งผลต่อตัวบุคลากรให้สร้างผลงานไม่เป็นไปตามความคาดหวัง อาทิ สภาพแวดล้อม หรือศักยภาพ เป็นต้น เพื่อสามารถหาวิธีการแก้ไขและปรับปรุงได้อย่างตรงประเด็น โดยผู้เรียนจะเริ่มเรียนรู้จากลักษณะของบุคลากรตามแนวทางของ Meyers-Briggs ซึ่งลักษณะเฉพาะที่แตกต่างกันนี้ทำให้การสื่อสารขาดประสิทธิภาพ ผนวกกับความไม่สมบูรณ์ของปัจจัยต่างๆ ที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานตามแนวทางของ Human Performance System (HPS) ทำให้ผู้เรียนสามารถวิเคราะห์หาสาเหตุที่แท้จริงของปัญหาที่เกิดขึ้นและหาแนวทางแก้ไขได้อย่างตรงประเด็น นอกจากนี้ผู้เรียนจะได้เรียนรู้วิธีการปรับพฤติกรรมของบุคลากรโดยใช้แนวทางกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ผ่านการชี้แนะอย่างใกล้ชิด หรือ Coaching
วัตถุประสงค์
- เรียนรู้กระบวนการคิดอย่างเป็นระบบ และพื้นฐานการคิดเชิงวิเคราะห์
- เรียนรู้แนวทางการวิเคราะห์ลักษณะของบุคคลตามแนวทางของ Meyers-Briggs
- เรียนรู้ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงานตามแนวทาง Human Performance System (HPS)
- เรียนรู้การปรับทัศนคติ และพฤติกรรมบุคลากร
Learning Method:
วิทยากร : ดร.ต่อเกียรติ น้อยสำลี
วิทยากร ที่ปรึกษา และผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการและพัฒนานวัตกรรม มุ่งเน้นการฝึกอบรมเพื่อให้เกิดการบูรณาการ และเชื่อมโยงอย่างเป็นระบบจากกลยุทธ์และความคิดสร้างสรรค์ ยกระดับผลิตภาพองค์กรเพื่อความสามารถทางการแข่งขันทางธุรกิจ
เหมาะสำหรับ
- Supervisor
- Manager
ค่าธรรมเนียม
ท่านละ (ก่อน VAT 7%)
|
4,200 บาท
|
ท่านละ (รวม VAT 7%)
|
4,494 บาท
|
หมายเหตุ : สมาชิกลด 5%
|
ระยะเวลา: 1 วัน
รุ่น 1 วันที่ 31 พฤษภาคม 2565 Online Training
หัวข้อ
- เรียนรู้การวิเคราะห์ลักษณะของบุคลากรตามแนวทางของ Meyers-Briggs
- เรียนรู้ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการปฏิบัติงานตามแนวทางของ Human Performance System (HPS)
- เรียนรู้วิธีการปรับปรุงแก้ไขในแต่ละปัจจัย
- เรียนรู้การปรับทัศนคติของบุคลากรเพื่อให้ได้ผลการดำเนินงานตามความคาดหวัง
- ฝึกปฏิบัติด้วยกรณีศึกษา ในแต่ละปัจจัย
- เรียนรู้วิธีการปรับพฤติกรรมการปฏิบัติงานด้วยการชี้แนะอย่างใกล้ชิด หรือ Coaching
- ฝึกปฏิบัติด้วยกรณีศึกษา