แนะนำสถาบัน

ฺBanner

“สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ เป็นสถาบันแห่งชาติที่ดำเนินงานภายใต้บทบาทพันธมิตรด้านผลิตภาพ มุ่งยกระดับศักยภาพของบุคลากรและองค์กรไทยครอบคลุมทุกภาคส่วน ด้วยทักษะความรู้ นวัตกรรม และการส่งเสริมคุณภาพ นำไปสู่การเพิ่มขีดความสามารถทางการแข่งขันให้ประเทศไทยพร้อมเติบโตอย่างยั่งยืนต่อไปในระดับสากล”

PlayPlay
PlayPlay
ผลิตภาพ

การใช้ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า มีประสิทธิภาพ และประสิทธิผล
เพื่อให้ได้ผลผลิตหรือผลลัพธ์ที่มีคุณภาพและคุณค่าเพิ่มสูงขึ้น ในระดับบุลคล องค์กร หรือประเทศ
ด้วยจิตสำนึกที่จะสร้างสรรค์ เรียนรู้ และปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง สู่การพัฒนาที่ยั่งยืน

จุดเริ่มต้นของสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
2537
พ.ศ. 2537
18 มกราคม พ.ศ. 2537

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ได้รับการอนุมัติจัดตั้ง เป็นหน่วยงานอิสระสังกัดกระทรวงอุตสาหกรรม โดยมีมูลนิธิเพื่อสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติรองรับการดำเนินงาน

วัตถุประสงค์ในการจัดตั้งสถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
  1. เพื่อพัฒนาการเพิ่มผลผลิตของภาคอุตสาหกรรมและยกระดับการเพิ่มผลผลิตให้สูงขึ้น
  2. เพื่อพัฒนาความสามารถในการแข่งขันของอุตสาหกรรมในตลาดโลก พัฒนาการบริหารและคุณภาพให้ได้ระดับมาตรฐานโลก
  3. พัฒนาบุคลากรทุกระดับของภาคอุตสาหกรรมให้มีทัศนคติที่ดีในการทำงาน มีคุณภาพ และทักษะในการพัฒนาการเพิ่มผลผลิตและปรับตัวรองรับการเปลี่ยนแปลงอุตสาหกรรมในอนาคต
  4. เป็นศูนย์กลางประสานและรณรงค์ส่งเสริมการเพิ่มผลผลิตทั่วประเทศ
1 กรกฎาคม พ.ศ. 2538
เปิดดำเนินการอย่างเป็นทางการ
2539 – 2543
2539 – 2543

ครบรอบ 5 ปี สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ

ดำเนินโครงการให้บรรลุเป้าหมาย
ในการพัฒนาศักยภาพของภาคธุรกิจ
การสร้างจิตสำนึกและการเพิ่มผลผลิตของชาติ

สร้างความรู้ด้านผลิตภาพให้แก่เยาวชน
ผ่านโครงการ Productivity Youth Camp

พัฒนาหลักสูตรการเพิ่มผลผลิต
ให้กับนักเรียนระดับ ปวส. ของกรมอาชีวศึกษา

ดำเนินโครงการพัฒนาบุคลากรภาคอุตสาหกรรม
ภายใต้แผนงานปรับโครงสร้างอุตสาหกรรม (พ.ศ.2541-2545)
เพื่อให้ผู้ประกอบการนำความรู้ไปใช้ในการปรับปรุงผลิตภาพ IRP

ได้รับการรับรองระบบคุณภาพ ISO 9001:2000

ร่วมเป็นหนึ่งในหน่วยงานพิจารณาและคัดเลือก
รางวัลอุตสาหกรรมดีเด่น ประเภทการเพิ่มผลผลิต

2544 – 2548
2544 – 2548

ครบรอบ 10 ปี สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ

โดยนำเสนอผ่านการจัดทำโครงการการบริการด้านวิชาการ
และการจัดกิจกรรมพิเศษต่าง ๆ รวมทั้งนิทรรศการ
ให้ความรู้ด้านการเพิ่มผลิตภาพ

จัดตั้งรางวัลคุณภาพแห่งชาติ ซึ่งเป็นหนึ่ง
ในยุทธศาสตร์การเพิ่มผลิตภาพของประเทศ
ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 9

จัดตั้งหน่วยงาน Center of Excellence
เพื่อพัฒนากระบวนการ Benchmarking และรวบรวม
Best Practices เพื่อค้นคว้า วิเคราะห์และเผยแพร่
แนวทางหรือวิธีการปฏิบัติที่เป็นเลิศขององค์กร

ดำเนินโครงการประเมินปัญหาความต้องการของวิสาหกิจชุมชน
และจัดทำคู่มือเทคนิคการเพิ่มผลผลิตในชุมชนเข้มแข็ง

ดำเนินโครงการภูมิปัญญานักประดิษฐ์ไทย เพื่อส่งเสริม
การใช้เทคโนโลยีเพื่อพัฒนาการเพิ่มผลผลิต

จัดทำมาตรฐาน OTOP ให้กับกรมส่งเสริมอุตสาหกรรม

จัดงาน Productivity Expo 2003 หรือ
มหกรรมการเพิ่มผลผลิต เพื่อนำเสนอนวัตกรรม
และเทคโนโลยีที่ช่วยปรับปรุงขั้นตอนการทำงานให้แก่องค์กร

ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ จัดทำโครงการสำรวจระดับการเพิ่มผลผลิตและบรรยากาศการลงทุนในประเทศไทย(Productivity and Investment Climate Survey)

ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ (สพฐ.) ริเริ่ม

“โครงการให้ความรู้เรื่องการเพิ่มผลผลิตในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษา”

เพื่อให้นักเรียนโรงเรียนต้นแบบ 13 แห่งจากจังหวัดต่าง ๆ มีความรู้ความเข้าใจเรื่องการเพิ่มผลผลิต

2549 – 2553
2549 – 2553

ครบรอบ 15 ปี สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ

ด้วยการผลักดันยุทธศาสตร์การเพิ่มผลิตภาพ และผลักดัน
ให้องค์กรต่างๆ นำเครื่องมือด้านการเพิ่มผลิตภาพไปใช้
ตลอดจนเพิ่มผลิตภาพในกลุ่มเยาวชนและอาจารย์ในโรงเรียน

ร่วมกับสำนักงานพัฒนาระบบราชการ (กพร.)
พัฒนาเกณฑ์การพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ
(Public sector Management Quality Award Program: PMQA)
และโครงการพัฒนาส่วนราชการให้เป็นองค์กรแห่งการเรียนรู้
และการจัดการความรู้ในส่วนราชการ

ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ
ยกประสิทธิภาพการบริหารจัดการรัฐวิสาหกิจ
ตามแนวทางรางวัลคุณภาพแห่งชาติ โดยการประยุกต์
ระบบการประเมินตนเอง (Self Assessment Report: SAR)

ร่วมกับกรมพัฒนาฝีมือแรงงาน จัดประชุมพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
“Mega-Trend in Human Capital and Labour Productivity
towards Global Integration”

ร่วมมือกับสำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (สสว.) พัฒนาเกณฑ์รางวัลสุดยอด SME แห่งชาติ หรือ SME National Awards ด้วยการนำแนวทางของเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (Thailand Quality Award -TQA) มาปรับใช้เป็นเกณฑ์พิจารณาตัดสินธุรกิจที่เข้าร่วมประกวด เพื่อมอบรางวัลให้กับกลุ่มธุรกิจ SME ที่มีประสิทธิภาพ และความสามารถในการบริหารจัดการอย่างมีมาตรฐาน

โครงการพัฒนาฐานข้อมูลอุตสาหกรรมเชิงเปรียบเทียบ
(Benchmark) ใน 10 กลุ่มอุตสาหกรรมเป้าหมาย 6 กระบวนการ
ให้กับ สำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม

สร้างบุคลากรด้านการรณรงค์ส่งเสริมการเพิ่มประสิทธิภาพภายในองค์กร (Productivity Facilitator)

จัดงานประชุมนานาชาติ IPC 2007ในโอกาสพิเศษฉลองครบรอบ 45 ปีขององค์การเพิ่มผลผลิตแห่งเอเชีย (APO) รวบรวมวิทยากรด้านการบริหารจัดการความรู้จากทั่วโลก มาร่วมถ่ายทอดประสบการณ์ด้าน Knowledge Management

ผนึกความร่วมมือพัฒนาคุณภาพเฮลท์แคร์ไทย
โดยร่วมมือกับสถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล พัฒนาคุณภาพการให้บริการของโรงพยาบาลไทยด้วยระบบ LEAN

เสริมความแข็งแกร่งด้านศักยภาพให้กับผู้ประกอบการไทยกับงาน Productivity Expo 2009 : มหกรรมความรู้ความช่วยเหลือเพื่อธุรกิจไทยแข็งแกร่ง

2554-2558
2554 – 2558

ครบรอบ 20 ปี สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ

โดยร่วมกับสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย
และองค์การเพิ่มผลผลิตแห่งเอเชีย จัดงาน
Productivity Conference 2015:
“Managing Today to Shape Tomorrow’s World”
และจัดการบรรยายพิเศษในหัวข้อ
“Thriving in the 21st Century World”
เพื่อเตรียมพร้อมองค์กรให้ทันต่อการเปลี่ยนแปลง
ตามแนวทาง Future Management

ร่วมกับองค์การเพิ่มผลผลิตแห่งเอเชีย
จัดการประชุมวิชาการมหกรรมคุณภาพนานาชาติ
Bangkok International Quality Symposium (BIQS)

ได้รับมอบหมายจาก กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม
ดำเนินโครงการพัฒนาอุตสาหกรรมการผลิต
เพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขัน (MDICP-PIA)

เพื่อพัฒนาและปรับปรุงกระบวนการผลิตของวิสาหกิจ
ขนาดกลางและขนาดย่อมภาคการผลิตให้มีผลิตภาพสูงขึ้น

ริเริ่มดำเนินโครงการสร้างและขยายฐานองค์ความรู้
การเพิ่มผลิตภาพเพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน
(Improving Productivity & Sustainability through Knowledge Management หรือ PF+KM)

นำเกณฑ์คุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA)
ไปสู่องค์การปกครองส่วนท้องถิ่น
โดยฝึกอบรมให้กับ อปท.นำร่องในจังหวัดภูเก็ต สมุทรสาคร

ศึกษาวิจัยแนวทางการนำองค์ความรู้ด้านสมองประยุกต์ใช้
ในการพัฒนาทักษะฝีมือสำหรับพนักงานในภาคการผลิตดำเนินการ
ให้กับสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (องค์การมหาชน)
Brain Based Learning

ร่วมมือกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เพื่อสร้างความเข้มแข็ง
ให้กับบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ และเตรียมความพร้อม
ให้บริษัทที่จะเข้าจดทะเบียนในตลาดโดยเฉพาะตลาด
MAI (Market for Alternative Investment)
ด้วย Productivity Excellence Model (P-EX Model)

ร่วมกับสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรมจัดทำแผนแม่บท
การเพิ่มประสิทธิภาพและผลิตภาพการผลิตของภาคอุตสาหกรรม

ศึกษาแนวโน้มความต้องการผลิตภัณฑ์ OTOP ของตลาดในประเทศ
และต่างประเทศ ภายใต้โครงการเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์ OTOP
โดยใช้ความคิดสร้างสรรค์ สำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้
(องค์การมหาชน) หรือ OKMD

2549 – 2553
2559 – 2562

จัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศด้านอนาคตศึกษา (Center of Excellence for Foresight: CEF)

จัดตั้งศูนย์ความเป็นเลิศด้านอนาคตศึกษา
(Center of Excellence for Foresight: CEF)

สร้างระบบฐานข้อมูลความต้องการแรงงาน
และฐานข้อมูลด้านความต้องการ และกำลังคนที่ผ่าน การฝึกอบรม เพื่อเป็นศูนย์รวมฐานข้อมูลเพื่อพัฒนากำลังแรงงานในเขตเศรษฐกิจพิเศษตะวันออกและใกล้เคียง ให้สามารถรองรับอุตสาหกรรมใหม่ Web site Link

ริเริ่มดำเนิน โครงการสร้างจิตสำนึกความเข้าใจ
เรื่องการเพิ่มผลิตภาพเพื่อการเพิ่มความสามารถ
ในการแข่งขันและการพัฒนาอย่างยั่งยืน เพื่อกระตุ้น
ให้องค์กรหาแนวทางการปรับปรุงผลิตภาพอย่างต่อเนื่อง

พัฒนาหลักสูตร 9 Habits of Sufficiency People & Highly Effectiveness ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

พัฒนาหลักสูตร 9 Habits of Sufficiency
People & Highly Effectiveness
ตามแนวทางปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

ขยายโครงการ Brain-Based Learning: BBL ในภาคบริการ การพัฒนาทักษะฝีมือสำหรับพนักงานให้เป็นสหวิทยาการ (Multidisciplinary) ให้กับสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (OKMD)

ขยายโครงการ Brain-Based Learning: BBL
ในภาคบริการ การพัฒนาทักษะฝีมือ
สำหรับพนักงานให้เป็นสหวิทยาการ (Multidisciplinary)
ให้กับสำนักงานบริหารและพัฒนาองค์ความรู้ (OKMD)

พัฒนาผลิตภาพสู่ความยั่งยืน โดยริเริ่มดำเนินโครงการจัดการลดการปล่อยคาร์บอน (Supply Chain De-carbonization และการพัฒนาองค์กร เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน (Roadmap for Organizational Sustainability Growth) พัฒนาองค์กร เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน (Roadmap for Organizational Sustainability Growth)

พัฒนาผลิตภาพสู่ความยั่งยืน โดยริเริ่มดำเนินโครงการจัดการลดการปล่อยคาร์บอน (Supply Chain De-carbonization และการพัฒนาองค์กร เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน (Roadmap for Organizational Sustainability Growth) พัฒนาองค์กร เพื่อการเติบโตอย่างยั่งยืน (Roadmap for Organizational Sustainability Growth)

เตรียมอุตสาหกรรมให้พร้อมเพื่อมุ่งสู่ อุตสาหกรรมแห่งอนาคต (Industry 4.0) ด้วยโครงการประเมินพัฒนาการด้านอุตสาหกรรม 4.0 และการวางแผนกำลังคนเพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของภาคอุตสาหกรรม ในปัจจุบันและอนาคต (Manpower planning for sustainable development in SMEs)

เตรียมอุตสาหกรรมให้พร้อมเพื่อมุ่งสู่ อุตสาหกรรมแห่งอนาคต (Industry 4.0) ด้วยโครงการประเมินพัฒนาการด้านอุตสาหกรรม 4.0 และการวางแผนกำลังคนเพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของภาคอุตสาหกรรม ในปัจจุบันและอนาคต (Manpower planning for sustainable development in SMEs)

สร้างระบบฐานข้อมูลความต้องการแรงงาน
และฐานข้อมูลด้านความต้องการ และกำลังคนที่ผ่าน การฝึกอบรม เพื่อเป็นศูนย์รวมฐานข้อมูลเพื่อพัฒนากำลังแรงงานในเขตเศรษฐกิจพิเศษตะวันออกและใกล้เคียง ให้สามารถรองรับอุตสาหกรรมใหม่ Web site Link

สร้างระบบฐานข้อมูลความต้องการแรงงานและฐานข้อมูลด้านความต้องการ และกำลังคนที่ผ่าน การฝึกอบรม เพื่อเป็นศูนย์รวมฐานข้อมูลเพื่อพัฒนากำลังแรงงานในเขตเศรษฐกิจพิเศษตะวันออกและใกล้เคียง ให้สามารถรองรับอุตสาหกรรมใหม่
(http://CareerCONNEXT.ftpi.or.th)

ยกระดับผลิตภาพด้วยการจัดการนวัตกรรม โดยดำเนินโครงการยกระดับผลิตภาพด้วยการจัดการเพื่อสร้างนวัตกรรม สำหรับการปรับเปลี่ยนในประเด็นที่สำคัญสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 รวมทั้งร่วมมือกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในด้านการนำนวัตกรรมมาใช้ในกระบวนการดำเนินธุรกิจเพื่อเพิ่มมูลค่าและโอกาสทางธุรกิจสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน เพื่อสนับสนุนและพัฒนาความรู้แก่ผู้ประกอบการที่เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ และบริษัทที่เตรียมเข้าจดทะเบียน

ยกระดับผลิตภาพด้วยการจัดการนวัตกรรม โดยดำเนินโครงการยกระดับผลิตภาพด้วยการจัดการเพื่อสร้างนวัตกรรม สำหรับการปรับเปลี่ยนในประเด็นที่สำคัญสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 รวมทั้งร่วมมือกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในด้านการนำนวัตกรรมมาใช้ในกระบวนการดำเนินธุรกิจเพื่อเพิ่มมูลค่าและโอกาสทางธุรกิจสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน เพื่อสนับสนุนและพัฒนาความรู้แก่ผู้ประกอบการที่เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ และบริษัทที่เตรียมเข้าจดทะเบียน

พัฒนาเครื่องมือวินิจฉัยองค์กร SMEs on-line ตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ

พัฒนาเครื่องมือวินิจฉัยองค์กร
SMEs on-line ตามเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ

ได้รับการรับรองระบบคุณภาพ ISO 9001:2015

ได้รับการรับรองระบบคุณภาพ ISO 9001:2015

เตรียมอุตสาหกรรมให้พร้อมเพื่อมุ่งสู่ อุตสาหกรรมแห่งอนาคต (Industry 4.0) ด้วยโครงการประเมินพัฒนาการด้านอุตสาหกรรม 4.0 และการวางแผนกำลังคนเพื่อตอบสนองต่อการเปลี่ยนแปลงของภาคอุตสาหกรรม ในปัจจุบันและอนาคต (Manpower planning for sustainable development in SMEs)

ร่วมเป็นพันธมิตรกับธนาคารกสิกรไทย สนับสนุนโครงการ K SME Good to Great ช่วยยกระดับอุตสาหกรรม New S-Curve ด้วยการเสริมความรู้และให้คำปรึกษาเชิงลึกจากผู้เชี่ยวชาญ

ยกระดับผลิตภาพด้วยการจัดการนวัตกรรม โดยดำเนินโครงการยกระดับผลิตภาพด้วยการจัดการเพื่อสร้างนวัตกรรม สำหรับการปรับเปลี่ยนในประเด็นที่สำคัญสู่ยุคอุตสาหกรรม 4.0 รวมทั้งร่วมมือกับตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย ในด้านการนำนวัตกรรมมาใช้ในกระบวนการดำเนินธุรกิจเพื่อเพิ่มมูลค่าและโอกาสทางธุรกิจสู่การเติบโตอย่างยั่งยืน เพื่อสนับสนุนและพัฒนาความรู้แก่ผู้ประกอบการที่เป็นบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ฯ ตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ และบริษัทที่เตรียมเข้าจดทะเบียน

ร่วมกับสถาบัน Fraunhofer ประเทศเยอรมนี ใน “โครงการปรับเปลี่ยนภาคอุตสาหกรรมไทย สู่การเป็นผู้นำในอุตสาหกรรม 4.0” โดยได้รับการสนับสนุนจากสำนักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อให้แนวทางการยกระดับองค์กรสู่ยุคดิจิทัลอย่างเป็นระบบ

2554-2558
2563 – ปัจจุบัน

ครบรอบ 25 ปี สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ

จัดงานสัมมนานานาชาติ “International Forum on Transforming Productivity for Tomorrow Success” ในโอกาสที่ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ ครบรอบ 25 ปี นำเสนอมุมมองการขับเคลื่อนผลิตภาพใน 4 มิติ ที่จะเป็นเครื่องมือสำคัญในการสนับสนุนผู้ประกอบการ และองค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนให้สามารถเติบโตและพร้อมรับการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ ได้อย่างเท่าทัน

ร่วมกับสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.) สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย (วว.), สถาบันรับรองมาตรฐานไอเอสโอ ในการผลักดันและส่งเสริมให้ผู้ประกอบการไทย ได้มีการประยุกต์ใช้ รวมถึงได้รับการตรวจประเมินและรับรองความสอดคล้องตามข้อกำหนดระบบบริหารการวิจัยและพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมตามมาตรฐานสากล (Research, Technology Development and Innovation Management System : RDIMS)

ร่วมกับบริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด พัฒนาหลักสูตรการอบรมและให้คำปรึกษา “การพัฒนาศักยภาพและยกระดับผลิตภาพผู้ประกอบการไทยสู่อุตสาหกรรม 4.0” เพื่อนำองค์ความรู้และประสบการณ์ในการดำเนินธุรกิจของทั้งสององค์กร ผ่านหลักสูตรการเรียนรู้ทั้ง การสัมมนา การฝึกอบรมภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ และการศึกษาดูงาน

ร่วมกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ) ผลักดัน “โครงการ Collaborative Assessment” มุ่งยกระดับศักยภาพสถานศึกษาไทยสู่ความเป็นเลิศตามแนวทางเกณฑ์รางวัลคุณภาพแห่งชาติ (TQA) เพื่อพัฒนาศักยภาพสถานศึกษาไทยในเชิงลึก และยกระดับพัฒนาการ Maturity ให้มีมาตรฐานการบริหารจัดการที่เป็นเลิศ

สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติร่วมลงนามกับกระทรวงอุตสาหกรรมและภาคเอกชน เพื่อการยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันภาคอุตสาหกรรม และการพัฒนาอุตสาหกรรมไทยเข้าสู่อุตสาหกรรม 4.0

ร่วมดำเนินการศึกษาวิจัยในหัวข้อ “ประเทศไทยในอนาคต Future Thailand: มิติที่ 5 เศรษฐกิจ ผู้ประกอบการและอุตสาหกรรม” เพื่อนำข้อมูลจากภาพเหตุการณ์จำลองอนาคตมาใช้ในการกำหนดนโยบายสาธารณะและแผนการพัฒนาประเทศ โดยได้รับการสนับสนุนงบประมาณจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ

ร่วมกับองค์การเพิ่มผลผลิตแห่งเอเชีย จัดงานประชุมประจำปี “63rd Workshop Meeting of Heads of NPOs (WSM)” และงานประชุมนานาชาติ “International Conference on Green Economy Growth: Synergizing Green Productivity and the Circular Economy”