เมื่อโลกผันผวน โรคระบาด Covid-19 เป็นตัวเร่ง เทคโนโลยีเอื้อ การทำงานจากที่ใดในโลก- Work from Anywhere กลายเป็น New Normal ถ้าคุณเป็น HR ผู้บริหาร และผู้ที่ต้อง Work from Home หรือ Remote Working เต็มรูปแบบ หรือ ลูกผสม- Hybrid Work ต้องทำอย่างไรให้การบริหารองค์กร Work ผู้บริหาร และพนักงาน Engaged & Productive & Work Life Balance ร่วมหาคำตอบได้กับหลักสูตรนี้
วัตถุประสงค์
- เพื่อให้รู้แนวทางบริหารจัดการและเตรียมความพร้อมองค์กรสู่รูปแบบ Hybrid/ Remote Work
- เพื่อให้รู้วิธีการบริหารทีมงานแบบ Hybrid/ Remote Work ให้เกิดผลลัพธ์ที่ดี
- เพื่อให้รู้เทคนิคการทำงานแบบ Hybrid/ Remote Work อย่างมีประสิทธิภาพ
- เพื่อให้สามารถนำแนวทาง Hybrid/ Remote Work ไปปรับใช้ได้
วิธีการฝึกอบรม
- การบรรยายและยกตัวอย่างจากวิทยากรที่มีความเชี่ยวชาญ
เหมาะสำหรับ
- ผู้บริหาร หรือ HR จากองค์กรที่ยังไม่ได้เริ่ม หรือเริ่มต้นใช้รูปแบบ Hybrid/ Remote Work
- ผู้ที่ต้องบริหารทีมงานแบบ Hybrid/ Remote Work
- ผู้ที่ต้องทำงานแบบ Hybrid/ Remote Work
วิทยากร
- คุณวรินทร์ จิตตยานุรักษ์ ผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนาศักยภาพ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
- คุณบุญญดา อู่ไพบูรณ์ หัวหน้าแผนกบุคคล สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
ระยะเวลา : 1 วัน
รุ่น 1 วันที่ 18 มีนาคม 2564 (อบรมผ่าน Zoom)
รุ่น 2 วันที่ 13 กรกฎาคม 2564 (อบรมผ่าน Zoom)
รุ่น 3 วันที่ 2 พฤศจิกายน 2564 (อบรมผ่าน Zoom)
หัวข้อ
09.00-12.00 น.
- Hybrid/ Remote Work คืออะไร ข้อดี ข้อเสีย จำเป็นอย่างไร
- องค์กรจะเริ่มต้น Hybrid/ Remote Work อย่างไร ให้ Work
- นโยบายการทำงานแบบ Hybrid/ Remote Work
- วิธีการสรรหา ลักษณะคนและงานแบบใดที่เหมาะการทำงานแบบ Hybrid/ Remote Work
- สวัสดิการสำหรับพนักงานที่ทำงานแบบ Hybrid/ Remote Work
- การปรับระเบียบการทำงานโดยไม่ให้กระทบกฏหมายแรงงาน
- เครื่องมือที่ช่วยให้การทำงาน Hybrid/ Remote Work ประสบความสำเร็จ
- แนวทางการทำงานแบบ Hybrid/ Remote Work ร่วมกับบุคคลากรภายนอกองค์กร
- วิธีการประเมินผลการทำงานแบบ Hybrid/ Remote Work
13.00-15.00 น.
- วิธีการบริหารทีม Hybrid/ Remote Work
- เทคนิค Engage Remote Team
- การสื่อสารและประชุมออนไลน์
- 4 Keys of Remote Team
- กรณีตัวอย่าง
- วิธีการทำงานแบบ Hybrid/ Remote Work
- กำหนดแผนงาน ตารางทำงาน เป้าหมาย
- กำหนดสถานที่ทำงาน อุปกรณ์
- การบริหาร Work & Life
- Do & Don’t
- กรณีตัวอย่าง