โปรแกรมพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการในศตวรรษใหม่ รุ่น 10 (Executive Strategic Management Program) - สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ Thailand Productivity Institute
Loading Events
Public Training

โปรแกรมพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการในศตวรรษใหม่ รุ่น 10 (Executive Strategic Management Program)

วันที่อบรม
30 สิงหาคม และ 4-5 กันยายน 2566

โรงแรม อมารี วอเตอร์เกท

ระยะเวลาอบรม : 3 วัน
วิธีการฝึกอบรม
- บรรยาย
- อภิปราย
- ฝึกปฏิบัติ


ค่าธรรมเนียม (ไม่รวม VAT) 20,000 บาท
สมาชิกสถาบัน รหัส TP และ FI ลด 3%
สถาบันจดทะเบียนในนามมูลนิธิ จึงได้รับยกเว้นการหักภาษี ณ ที่จ่าย 3%

  • This event has passed.

โปรแกรมพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการในศตวรรษใหม่ รุ่น 10

(Executive Strategic Management Program)

 

                ผู้บริหารซึ่งเป็นผู้นำการเปลี่ยนแปลงขององค์กร ต้องมีความรู้ มีวิสัยทัศน์ สามารถนำความรู้และประสบการณ์มาประยุกต์ใช้ให้เกิดประโยชน์ต่อองค์กร รวมทั้งร่วมมือผลักดันหรือสนับสนุนให้บรรลุเป้าหมายตามแผนที่กำหนด

                สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ จึงได้ดำเนินการจัดทำโปรแกรมพัฒนาศักยภาพด้านการบริหารจัดการในศตวรรษใหม่ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลง ในการเตรียมความพร้อมของผู้บริหารและบุคลากร โดยพัฒนาศักยภาพการบริหารและการจัดการองค์กรเชิงบูรณาการ ซึ่งเป็นกำลังสำคัญในการขับเคลื่อนให้บรรลุวิสัยทัศน์ พันธกิจ เพื่อให้พัฒนาไปสู่องค์กรที่มีขีดสมรรถนะสูง

 

ระยะเวลาอบรม
30 สิงหาคม และ 4-5 กันยายน 2566
เวลา 9.00-16.00 น.

 

รูปแบบการอบรม
โรงแรม อมารี วอเตอร์เกท กรุงเทพฯ (ประตูน้ำ)

 

เหมาะสำหรับ

  • Executive, ผู้บริหารขององค์กร
  • Director จากฝ่ายงานต่างๆ
  • ทายาทธุรกิจ
  • ผู้บริหารรุ่นใหม่
  • ผู้ที่ต้องบริหารจัดการองค์กร
  • ผู้ที่เตรียมความพร้อมเป็นผู้บริหารในอนาคต


30 สิงหาคม 66  เวลา 9.00 – 16.00 น.

หัวข้อ Leadership in the next normal

วัตถุประสงค์
พัฒนาผู้นำให้ก้าวข้ามขีดจำกัดของตนเอง ให้สามารถขับเคลื่อนองค์กรและนำทีมงานฝันฝ่าอุปสรรคสู่เป้าหมายภายใต้ สภาวะการเปลี่ยนแปลง

 

รายละเอียดการบรรยาย

  • แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงและวิถีโลกใหม่ (Global Mega Trends & FOW)
  • บทบาทและทักษะสำคัญของผู้นำในอนาคต (Leadership in the New Normal)
  • ผู้นำกับการสร้างทีมประสิทธิภาพสูง (Developing and Sustaining High-Performance Teams)
  • บทบาทผู้นำกับการผลักดันวัฒนธรรมองค์กรในยุคปกติใหม่ (Driving Organizational Culture in the New Normal)

 

วิทยากรและที่ปรึกษา  
อ. ฉันทลักษณ์ มงคล
ตำแหน่ง  ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาบุคลากร

 

4 กันยายน 66  เวลา 9.00 – 16.00 น.
หัวข้อ Foresight for Change to Excellence

วัตถุประสงค์ 
สร้างแนวคิดและหลักการ  การเปลี่ยนแปลงที่ผ่านการวิเคราะห์ข้อมูลทั้งปัจจัยภายในภายนอก  ที่สำคัญอย่างเป็นระบบและครอบคลุมตอบสนองต่อวิสัยทัศน์และเป้าหมายองค์กรในระยะสั้นและระยะยาว พร้อมแผนปฏิบัติการและเทคนิคการจัดการการเปลี่ยนแปลงสู่ความสำเร็จ  รวมถึงการพัฒนาและปรับปรุงองค์กรอย่างยั่งยืน  ผ่านการประเมินตามแนวทางสากล

 

รายละเอียดการบรรยาย

  • การบริหารจัดการองค์กรในภาพรวม
  • เรียนรู้แนวทางในการศึกษาบริบทและการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญ
  • แนวทางการพิจารณาและทบทวน Business Model ขององค์กร
  • แนวทางการสร้างนวัตกรรมขององค์กร
  • แนวทางการจัดทำ Benchmarking
  • การบริหารการเปลี่ยนแปลงสู่ความยั่งยืน
  • การกำหนดแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงองค์กร

 

วิทยากรและที่ปรึกษา  
อ. สุรเชษฎ์ พลวณิช
ตำแหน่ง  ผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนาศักยภาพ
ผู้เชี่ยวชาญด้านการพัฒนาระบบบริหารจัดการและกลยุทธ์องค์กร

 

5 กันยายน 66  เวลา 9.00 – 12.00 น.
หัวข้อ Crisis management

วัตถุประสงค์
เพื่อทราบและเข้าใจแนวทางการจัดการภาวะวิกฤติ และการสื่อสารในภาวะวิกฤติ (Crisis Communication)

 

รายละเอียดการบรรยาย 

  • อะไรคือภาวะวิกฤต (What is Crisis)
  • องค์ประกอบของภาวะวิกฤต (Element of Crisis)
  • การบริหารความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Management : BCM ตามมาตรฐาน ISO 22301:2012)
  • แผนความต่อเนื่องทางธุรกิจ (Business Continuity Plan : BCP)
  • การบริหารความเสี่ยง (Risk Management)
  • การจัดการภาวะวิกฤต (Crisis Management)
  • การสื่อสารในภาวะวิกฤต (Crisis Communication)

 

วิทยากรและที่ปรึกษา  
อ. สุวิทย์ เจนสวัสดิ์พงศ์
ตำแหน่ง  ผู้จัดการส่วนจัดการองค์กร
ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการองค์กร และวางแผนกลยุทธ์ด้วย Foresight

 

5 กันยายน 66  เวลา 13.00 – 16.00 น.
หัวข้อ Digital Transformation (DX)

วัตถุประสงค์

เพื่อทราบและเข้าใจการเปลี่ยนแปลงของ Digital Technologies หรือ Disruptive Technologies ที่ส่งผลกระทบต่อทุกองค์กรทั้งเชิงบวกและเชิงลบ   องค์กรที่ต้องการประสบความสำเร็จอย่างยั่งยืนทั้งในปัจจุบันและอนาคตจำเป็นต้องปรับตัวให้เข้ากับการเปลี่ยนแปลงที่สำคัญทางเทคโนโลยีดิจิทัล   ต้องสามารถนำ Digital Technology มาประยุกต์ใช้ในทุกภาคส่วนของ

องค์กรโดยเฉพาะในกระบวนการที่สำคัญเพื่อส่งมอบประสบการณ์ที่ดีให้กับลูกค้าและผู้มีส่วนได้ส่วนเสียที่สำคัญ  รวมถึงการปรับปรุงประสิทธิผลและประสิทธิภาพของกระบวนการให้ดีขึ้นอย่างต่อเนื่อง

 

รายละเอียดการบรรยาย

  • ความหมายและประโยชน์ของ Digital Transformation
  • Digital Mindset
  • Potential Disruptive Technologies
  • Digital Transformation Framework (BCG, Deloitte)
  • Digital Roadmap
  • Enterprise Architecture (EA)
  • Digital Governance

 

วิทยากรและที่ปรึกษา
อ. สุวิทย์ เจนสวัสดิ์พงศ์
ตำแหน่ง  ผู้จัดการส่วนจัดการองค์กร
ผู้เชี่ยวชาญด้านการบริหารจัดการองค์กร และวางแผนกลยุทธ์ด้วย Foresight

 

การออกใบรับรองการอบรม (Certificate)
ผู้อบรมจะได้รับใบรับรองการอบรม โดยจะต้องเข้าอบรมไม่น้อยกว่า 80% ของเวลาอบรมตลอดหลักสูตร

 

ค่าธรรมเนียม (ยังไม่รวม Vat 7%)

20,000 บาท / ท่าน

สถาชิกสถาบันรับส่วนลด 5%

สถาบันจดทะเบียนในนามมูลนิธิ จึงได้รับยกเว้นการหัก ณ ที่จ่าย 3%

ค่าใช้จ่ายในการส่งพนักงานฝึกอบรม สามารถนำไปลดหย่อนภาษีเงินได้ตาม พรบ. ส่งเสริมการพัฒนาฝีมือแรงงาน

 

สอบถามเพิ่มเติม
แผนกบริการฝึกอบรม ฝ่ายพัฒนาศักยภาพ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
โทรศัพท์ 02-619-5500 ต่อ 458 (นันทนา)
E-mail: nuntana@ftpi.or.th

สอบถามรายละเอียดเพิ่มเติม

นันทนา สะการ์
02-6195500 ต่อ 458

วิทยากร

สุรเชษฎ์ พลวณิช

ผู้อำนวยการฝ่ายพัฒนาศักยภาพ
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
วิทยากรที่ปรึกษาด้านการพัฒนาระบบบริหารจัดการ, กลยุทธ์องค์กร Thailand Quality Award (TQA),
Public Sector Management Quality Award (PMQA), State Enterprise Performance Appraisal (SEPA),
How to Master Change Management, Operational Performance Excellence, Advance Strategic Planning Model

สุวิทย์ เจนสวัสดิ์พงศ์

ผู้จัดการส่วนการจัดการองค์กร
ฝ่ายปรึกษาแนะนำ
สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
วิทยากรที่ปรึกษาด้านการพัฒนาระบบบริหารจัดการ
กลยุทธ์องค์กร Thailand Quality Award (TQA)
Public Sector Management Quality Award (PMQA)
State Enterprise Performance Appraisal (SEPA)

ฉันทลักษณ์ มงคล

ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ
สายงานธุรกิจ สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ
บริหารงานด้านการส่งเสริมการเพิ่มผลิตภาพ การประชาสัมพันธ์องค์กร กำหนดแนวทาง ส่งเสริม สนับสนุน
และผลักดันให้เกิด
- การขยายเครือข่าย สร้างแนวร่วมด้านการพัฒนาผลิตภาพ (Productivity) และ/หรือ ด้านการพัฒนาองค์กรสู่การเป็นองค์กรที่มีการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Organization) กับหน่วยงานทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และสถาบัน
การศึกษาทั้งภายในและภายนอกประเทศ
- การสร้างความสัมพันธ์กับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ด้วยการพัฒนากิจกรรม จัดทำและเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารด้านการเพิ่มผลิตภาพ การบริหารจัดการ และการพัฒนาอย่างยั่งยืน
ผู้จัดการส่วนรณรงค์ส่งเสริมการเพิ่มผลผลิต
- พัฒนาโครงการ และกิจกรรมรณรงค์ส่งเสริม
- บริหารโครงการพิเศษ
- วิทยากรที่ปรึกษาด้านการรณรงค์ส่งเสริมการเพิ่มผลิตภาพ
- วิทยากรบรรยายหลักสูตร Public / In-house Training
- ดูแลการผลิตผลงานวิชาการองค์กร อาทิ วารสาร สิ่งพิมพ์ กรณีศึกษา มัลติมีเดีย


Latest Course


Latest Articles